-
-
หน้าแรก
-
กระชายดำ
-
กวาวเครือขาว
-
กวาวเครือแดง
-
ถั่งเช่า
-
แปะก๊วย
-
สมอพิเภก
-
เห็ดหลินจือ
-
ว่านชักมดลูก
-
บุก
-
สมอไทย
-
ส้มแขก
-
มะรุม
-
มะขามป้อม
-
เจียวกู่หลาน
-
กระบองเพชร
-
ถั่วขาว
-
เมล็ดองุ่น
-
พริกไทย
-
ชาเขียว
-
โสมคน
-
ตังกุย
-
เทียนเกล็ดหอย
-
เก๋ากี้(โกจิเบอร์รี่)
-
ดอกคำฝอย
-
กระเทียม
-
ทับทิม
-
ขมิ้นชัน
-
มะขามแขก
-
โกฐน้ำเต้า
-
ดีปลี
-
โกฐหัวบัว
-
เถาวัลย์เปรียง
-
เถาเอ็นอ่อน
-
แห้วหมู
-
ยาดำ
-
ชะพลู
-
สะค้าน
-
เจตมูลเพลิงแดง
-
เจตมูลเพลิงขาว
-
ขิง
-
ขี้เหล็ก
-
ว่านน้ำ
-
กีบแรด
-
ไพล
-
ราชพฤกษ์
-
กำลังเสือโคร่ง
-
หนาดใหญ่
-
คนทีสอ
-
ดอกดาวเรือง
-
พลูคาว
-
ตรีผลา
-
ข่า
-
รากสามสิบ
-
รางแดง
-
ปลาไหลเผือก
-
หมามุ่ย
-
การบูร (Camphor)
-
เกล็ดสะระแหน่ (Menthol)
-
น้ำมันกานพลู (Clove Oil)
-
น้ำมันระกำ (Methyl Salicylate)
-
พิมเสน (Bomed Camphor)
-
ลูกใต้ใบ
-
หญ้าหนวดแมว
-
หญ้าหวาน
-
ทองพันชั่ง
-
เหงือกปลาหมอ
-
งาดำ
-
ตะไคร้
-
บอระเพ็ด
-
บัวบก
-
ผักปลัง
-
เสลดพังพอน (พญายอ)
-
มะกรูด
-
ส้มป่อย
-
กระเจี๊ยบแดง
-
กล้วยน้ำว้า
-
งาขาว
-
ฝรั่ง
-
เพกา
-
ฟ้าทะลายโจร
-
มะขาม
-
มะนาว
-
ยอ
-
ย่านาง
-
รางจืด
-
หอมแดง
-
กระวาน
-
เสลดพังพอน
-
หม่อน
-
มะแว้งต้น
-
ผักเชียงดา
-
มะระขี้นก
-
จันทน์แดง
-
เก๊กฮวย
-
กัญชา
-
กะเพรา
-
ชุมเห็ดเทศ
-
ดาวอินคา
-
โด่ไม่รู้ล้ม
-
อัญชัน
-
เปล้าน้อย
-
อังกาบหนู
-
เสาวรส
-
เพชรสังฆาต
-
โกฐเขมา
-
มะระจีน
-
พลู
-
ชะเอมเทศ
-
มะม่วงหาว มะนาวโห่
-
เตย
-
ลูกซัด
-
หนอนตายหยาก
-
ทุเรียนเทศ
-
สับปะรด
-
แก่นตะวัน
-
ผักคราดหัวแหวน
-
ฟักทอง
-
พรมมิ
-
ชุมเห็ดไทย
-
หญ้าดอกขาว
-
สะเดา
-
มะเขือพวง
-
แมงลัก
-
มะเดื่อชุมพร (มะเดื่อไทย)
-
ขมิ้นอ้อย
-
สีเสียด
-
เปราะหอม
-
โป๊ยกั๊ก
-
มะคำดีควาย
-
มะหาด
-
ส้มโอ
-
ผักบุ้งทะเล
-
สารภี
-
โกฐสอ
-
หมาก
-
มะเกลือ
-
กระทือ
-
ขลู่
-
ผักชี
-
เล็บมือนาง
-
หอมหัวใหญ่
-
มะเขือเทศ
-
โทงเทง
-
สะแก
-
เทียนดำ
-
มะเดื่อฝรั่ง
-
โหระพา
-
อินทนิลน้ำ
-
หูเสือ
-
หนุมานประสานกาย
-
กฤษณา
-
เทียนขาว
-
กระดอม
-
ตะลิงปลิง
-
ตำลึง
-
พุดตาน
-
เทียนแดง
-
ละหุ่ง
-
สายน้ำผึ้ง
-
ยี่หร่า
-
สะระแหน่
-
มะเกี๋ยง
-
โกฐจุฬาล้มพา
-
ว่านมหากาฬ
-
เร่ว
-
เทียนบ้าน
-
แคบ้าน
-
เทียนตาตั๊กแตน (ผักชีลาว)
-
มะเฟือง
-
ขึ้นฉ่าย
-
ไมยราบ
-
มะยม
-
สันโศก
-
น้ำนมราชสีห์
-
โกฐก้านพร้าว
-
ครอบฟันสี
-
ม้ากระทืบโรง
-
บัวหลวง
-
โกฐชฎามังสี
-
กำแพงเจ็ดชั้น
-
พิกุล
-
เทียนเยาวพาณี
-
จันทน์เทศ
-
หญ้าขัด
-
โกฐพุงปลา
-
เสนียด
-
บุนนาค
-
กระเม็งตัวเมีย
-
มะลิ
-
ฝาง
-
น้ำนมราชสีห์เล็ก
-
ผักกาดหัว
-
มะตูม
-
ว่านหางจระเข้
-
สบู่ดำ
-
กำลังวัวเถลิง
-
สันพร้าหอม
-
ทองหลางลาย
-
หนามกระสุน
-
หญ้าคา
-
ลำดวน
-
บวบเหลี่ยม
-
เทียนหยด
-
กรุงเขมา
-
แฝกหอม
-
น้ำเต้า
-
ตะไคร้หอม
-
กระบือเจ็ดตัว
-
เอื้อหมายนา
-
โกฐกระดูก
-
หมากผู้หมากเมีย
-
ลูกเดือย
-
ผักเสี้ยนผี
-
โคคลาน
-
เห็ดฟาง
-
ตานหม่อน
-
คนทา
-
ผักแพว
-
ส้มเกลี้ยง
-
มะพร้าว
-
ผักกระโฉม
-
ชะลูด
-
ข่อย
-
โสน
-
กลอย
-
ปีบ
-
พุดซ้อน
-
แพงพวยฝรั่ง
-
ส้มโอมือ
-
ระย่อมน้อย
-
มะขามเทศ
-
มะเขือเปราะ
-
เห็ดหูหนู
-
ขจร
-
ตะขบฝรั่ง
-
ติ้วขาว
-
ทานตะวัน
-
ซ่อนกลิ่น
-
ดาหลา
-
ลีลาวดี
-
ประดู่บ้าน
-
ขันทองพยาบาท
-
บัวเผื่อน
-
สายหยุด
-
สะตอ
-
ขนุน
-
ฟักเขียว
-
แพงพวยน้ำ
-
คัดเค้า
-
กุยช่าย
-
กุ่มน้ำ
-
นางแย้มป่า
-
ผักเขียด
-
พลองเหมือด
-
ราชดัด
-
ว่านพร้าว
-
สำรอง
-
สีเสียดเทศ
-
จำปา
-
พญาวานร
-
ผักแขยง
-
ฝอยทอง
-
ผักโขม
-
โหราเดือยไก่
-
โสมไทย
-
แมงลักคา
-
ผักแว่น
-
พริกหยวก
-
เลี่ยน
-
ผักเบี้ยใหญ่
-
ไฟเดือนห้า
-
ตะโกนา
-
ว่านนางคำ
-
เท้ายายม่อม
-
ทานาคา
-
แห้ม
-
ข้าวเย็นเหนือ
-
กระดูกไก่ดำ
-
จันทนา
-
คาโมมายล์
-
ไม้เท้ายายม่อม
-
ลำโพง
-
กระเบา
-
หัวร้อยรู
-
กุหลาบมอญ
-
ข้าวเย็นใต้
-
หางไหลแดง
-
สนขี้มด
-
บานไม่รู้โรย
-
มะปราง
-
รามใหญ่
-
หญ้าฝรั่น
-
กำแพงเก้าชั้น
-
เครือปลาสงแดง
-
งิ้วป่าดอกขาว
-
เฉียงพร้านางแอ
-
ถั่วเหลือง
-
ทองกวาว
-
ปอเตาไห้
-
มะม่วง
-
กันเกรา
-
กุ่มบก
-
คันทรง
-
คำเงาะ
-
ชะมวง
-
ต้นนมวัว
-
ตาล
-
ถั่วแระต้น
-
พิษนาศน์
-
มะม่วงหิมพานต์
-
แอลคาร์นิทีน
-
ไคโตซาน
-
ลูทีน
-
สารสกัดจากเปลือกสน
-
วิตามินเอ
-
วิตามินบี 1
-
วิตามินบี 2
-
วิตามินบี 3
-
วิตามินบี 5
-
วิตามินบี 6
-
วิตามินบี 7
-
วิตามินบี 9
-
วิตามินบี 12
-
วิตามินซี
-
คอลลาเจน
-
แอล-ธีอะนีน
-
วิตามินเค
-
วิตามินอี
-
วิตามินดี
-
กลูตาไธโอน
-
แอล-อาร์จินีน
-
แอล-ลิวซีน
-
ทอรีน
-
แอล-กลูตามีน
-
อินูลิน
-
คลอโรฟีลล์
-
คอนดรอยตินซัลเฟต
-
ซัลโฟราเฟน
-
น้ำมันตับปลา
-
น้ำมันปลา
-
เบต้ากลูแคน
-
เวย์โปรตีน
-
สาร OPC
-
ไอโอดีน
-
แมกนีเซียม
-
แมงกานีส
-
สังกะสี
-
แคลเซียม
-
โครเมียม
-
ทองแดง
-
ธาตุเหล็ก
-
ฟอสฟอรัส
-
ซีลีเนียม
-
ไอโซฟลาโวน
-
อะดิโพเนคทิน
-
โคลีน
-
เบต้าแคโรทีน
-
โพแทสเซียม
-
เลซิติน
-
โมลิบดีนัม
-
ไลโคปีน
-
โคเอนไซม์ คิวเท็น
-
ใยอาหาร
-
แอสตาแซนธิน
-
คาเทชิน
-
ไฟโคไซยานิน
-
อัลบูมิน
-
ฟูโคแซนทิน
-
ไฮยาลูโรนิค
-
ฟลูออไรด์
-
ซูคราโลส
-
เคอร์คูมิน
-
คลอไรด์
-
โซเดียม
-
แอสปาร์แตม
-
กาบา
-
ครีเอทีน
-
คอร์ไดเซปิน
-
คาร์โนซีน
-
จินเซนโนไซด์
-
เซซามิน
-
ไพเพอร์รีน
-
อะซีซัลเฟม โพแทสเซียม
-
อัลลิซิน
-
กลูโคแมนแนน
-
แคปไซซินอยด์
-
จินเจอรอล
-
ซอร์บิทอล
-
แซ็กคาริน
-
พรอพอลิส
-
โพลิโคซานอล
-
ยูจีนอล
-
สตีวิออลไกลโดไซด์
-
แอนโดรกราโฟไลด์
-
ลิโมนีน
-
พิโนสโตรบิน
-
ไซลิทอล
-
โมโกรไซด์
-
เฮลเพอริดิน
-
แกมมาออไรซานอล
-
C.B.D.
-
สารสกัดจากเปลือกมังคุด
-
เอเชียติโคไซด์
-
น้ำมันมะพร้าว
-
โอเมก้า 9
-
บาราคอล
-
สโคโปเลติน
-
อาร์บูติน
-
กรดอัลฟาไลโปอิก
-
เรสเวอรเทรอล
-
โอเมก้า-6
-
สาร DMPBD
-
สารสกัดกระชายดำ
-
โอเมก้า 3
-
AHAs
-
HCA
-
เซราไมค์
-
โบรมีเลน
-
กรดจิมเนมิก
-
กระเทียมดำ
-
กาแลคโตแมนแนน
-
กีปิโนไซด์
-
บาโคไซด์
-
สารสกัดคาโมมายล์
-
ไบคาเลน
-
คาเฟอีน
-
สารสกัดใบแปะก๊วย
-
กรดกาโนเดริค
-
ซาแรนติน
-
ไรนาแคนทิน
-
สาร DNJ
-
ออกซีเรสเวอราทรอล
-
นมผึ้ง
-
บอราเพโตไซด์
-
Aegeline
-
กรดซิตริก
-
สปิแลนทอล
-
โอลิโกนอล
-
L-dopa
-
Guaijaverin
-
ไทโมควิโนน
-
ไดออสไพรอล ไดกลูโคไซด์
-
เรอิน
-
รูติน
-
1’-acetoxychavicol acetate (ACA)
-
เซอซิลินีออล
-
ซิทรัล
-
กรดโปรโตคาเทชูอิก
-
ไมทราไจนีน
-
อะลอคติน เอ
-
Corilagin
-
แซนทอร์ไรซอล
-
ดิเมท็อกซีเคอร์คูมิน
-
อัลลิลไอโซไทโอไซยาเนต
-
เจนิสติน
-
เปลาโนทอล
-
กรดเบทูลินิก
-
กรดคลอโรเจนิก
-
คริโซฟานอล
-
ทิเรียโคลินิน
-
ฟีนิลเอทิลแอลกอฮอล์
-
เมทิล คาเฟอีน
-
ฮิสปิดูลิน
-
กรดโรสมารินิก
-
เบตา ยูเดสมอล
-
ไมร์ซีน
-
ไมริสทิซิน
-
ควอซินอยด์
-
สารดิออกซีไมโรเอสทรอล
-
บราซิลิน
-
พรูเนติน
-
ฟาซิโอลามีน
-
อาร์ทีมิชินิน
-
อิมเพอราโทริน
-
อัคคีทวาร
-
แก้ว
-
ใบระบาด
-
การะเกด
-
กาฬพฤกษ์
-
ตองแตก
-
บานเย็น
-
ผักกาดขาว
-
พะยอม
-
พิลังกาสา
-
อ้อยดำ
-
เทพทาโร
-
โมกมัน
-
กระต่ายจันทร์
-
กระท้อน
-
งาขี้ม้อน
-
ชิงชี่
-
ถั่วแดงหลวง
-
บัวหิมะ
-
ประทัดใหญ่
-
ประยงค์
-
ฝ้ายแดง
-
มะไฟจีน
-
มะดัน
-
มะอึก
-
ว่านธรณีสาร
-
ว่านหางช้าง
-
กระเจี๊ยบมอญ
-
ก้ามปูหลุด
-
กาหลง
-
จัน
-
ดองดึง
-
บวบขม
-
พระจันทร์ครึ่งซีก
-
มะกล่ำต้น
-
มะกอก
-
มะละกอ
-
มะหลอด
-
ว่านกาบหอย
-
สบู่เลือด (เปล้าเลือด)
-
สัก
-
แสลงใจ
-
กระแตไต่ไม้
-
ผกากรอง
-
ฝ้ายตุ่น
-
มหาหงส์
-
ยาสูบ
-
ยูคาลิปตัส
-
ว่านสากเหล็ก
-
ส้มเสี้ยว
-
มะกา
-
มันม่วง
-
หูปลาช่อน
-
เสม็ดชุน
-
ตำแยแมว
-
นมแมว
-
ปวยเล้ง
-
ปืนนกไส้
-
มะแขว่น
-
มะกล่ำตาหนู
-
อะโวคาโด
-
แตงกวา
-
แป๊ะตำปึง
-
โคกกระออม
-
กรรณิการ์
-
กระทุงหมาบ้า
-
ขมิ้นขาว
-
ตะไคร้ต้น
-
ถั่วลันเตา
-
รสสุคนธ์
-
เชอร์รี่
-
ดาวเรืองฝรั่ง
-
ฝิ่นต้น
-
มะเม่า
-
มะขวิด
-
มะพูด
-
มะยมป่า
-
มะสัง
-
รัก
-
สาเก
-
เกล็ดปลาช่อน
-
เครือประสงค์
-
เบญจรงค์ห้าสี
-
กะเจียน
-
จำปี
-
ประดู่ป่า
-
ผักหวานบ้าน
-
พันงูเขียว
-
ย่านางแดง
-
อบเชยเถา
-
สุพรรณิการ์
-
กระถิน
-
กระทงลาย
-
จมูกปลาหลด
-
ช้างน้าว
-
ต้อยติ่ง
-
ตะขบป่า
-
ถั่วฝักยาว
-
นมควาย
-
นางแย้ม
-
คะน้าเม็กซิโก
-
ยอป่า
-
ตับเต่าต้น
-
เหียง
-
ผักหนาม
-
ประยงค์ป่า
-
ติ้วขน
-
นมน้อย
-
มะนาวผี
-
แจง
-
หว้า
-
กระทิง
-
กล้วยเต่า
-
กำจัดหน่วย
-
เขยตาย
-
ดีปลากั้ง
-
ตะลุมพุก
-
ลำไย
-
สลัดไดป่า
-
หญ้ายาง
-
กะทกรก
-
ฮ่อม
-
สนุ่น
-
อีเหนียว
-
กระเทียมเถา
-
คงคาเดือด
-
ผักกูด
-
หญ้างวงช้าง
-
ทองโหลง
-
ตีนเป็ดน้ำ
-
แห้วจีน
-
ข้าวฟ่าง
-
ขี้เหล็กเทศ
-
คนทีเขมา
-
คุย
-
ตาเสือ
-
พญามุตติ
-
มะแว้งนก
-
ลำพูป่า
-
ส่องฟ้า
-
สารสกัดถั่วขาว
-
กกลังกา
-
กรวยป่า
-
กระชับ
-
กระเช้าผีมด
-
ถั่วเขียว
-
ถั่วดำ
-
ผักเบี้ยหิน
-
วิตามินรวม
-
สารสกัดชาเขียว
-
ชำมะเลียง
-
ปรู
-
กระดึงช้างเผือก
-
กระโดน
-
กระไดลิง
-
กระถินเทศ
-
กระท่อม
-
กะหล่ำดอก
-
โกโก้
-
ข่าตาแดง
-
กระทุ่มนา
-
กระบก
-
ขี้กาแดง
-
งวงสุ่ม
-
ทรงบาดาล
-
นนทรี
-
พะยูง
-
มะหวด
-
ลิ้นจี่
-
ส้มลม
-
หัสคุณ
-
ตะโกสวน
-
น้ำเต้าต้น
-
บลูเบอร์รี่
-
ผักขมหิน
-
มะกอกน้ำ
-
มะพอก
-
เล็บเหยี่ยว
-
สาบเสือ
-
สิรินธรวัลลี
-
เปล้าใหญ่
-
โลดทะนงแดง
-
กะตังใบ
-
คำรอก
-
ตะคร้อ
-
ปอขี้ตุ่น
-
มะเดื่อปล้อง
-
สมอดีงู
-
หงอนไก่ไทย
-
หนานเฉาเหว่ย
-
หมี่
-
กัลปพฤกษ์
-
กำจาย
-
แกลบหนู
-
เต็งหนาม
-
เต่าร้าง
-
พนมสวรรค์
-
มะกอกเกลื้อน
-
มะค่าโมง
-
มะเดื่อหอม
-
ไข่เน่า
-
มันฝรั่ง
-
หล่อฮังก๊วย
-
พรวด
-
แตงโม
-
มะกอกน้ำมัน
-
เนระพูสีไทย
-
มะตาด
-
เงาะ
-
องุ่น
-
การเวก
-
แก้วมังกร
-
คราม
-
ชงโค
-
ชมพู่น้ำดอกไม้
-
ดอกดิน
-
หญ้าตีนตุ๊กแก
-
ผักหวานป่า
-
หญ้าไฟตะกาด
-
เห็ดเยื่อไผ่
-
เห็ดเผาะ
-
กระดุมทองเลื้อย
-
ขี้ครอก
-
จิงจูฉ่าย
-
ผักชีล้อม
-
ผักบุ้งขัน
-
พลับพลา
-
ว่านพระฉิม
-
เสจ
-
หูกวาง
-
สังกรณี
-
ชะเอมไทย
-
ข้าวโพด
-
ขี้ไก่ย่าน
-
แครอท
-
บัวตอง
-
พญาสัตบรรณ
-
ฟักแม้ว
-
มะไฟ
-
สนทะเล
-
รักใหญ่
-
กระทุ่มบก
-
ก้างปลาแดง
-
ขมิ้นเครือ
-
บีทรูท
-
ปอสา
-
ผักกาดน้ำ
-
ผักอีนูน
-
มะม่วงหัวแมงวัน
-
ระงับพิษ
-
หญ้าแพรก
-
กระพังโหม
-
ชะมดต้น
-
ซ้อ
-
นุ่น
-
ผักปลาบใบแคบ
-
พังแหรใหญ่
-
ส้มเขียวหวาน
-
สวาด
-
สำโรง
-
สำมะงา
-
กรดน้ำ
-
กำยาน
-
จามจุรี
-
ดีหมี
-
บ๊วย
-
ฝ้าย
-
ม่อนไข่
-
สกุณี
-
สร้อยอินทนิล
-
หนามแท่ง
-
กานพลู
-
ขนุนดิน
-
คาง
-
งิ้ว
-
ตะบูนขาว
-
ธนนไชย
-
ผักกาดหอม
-
มะตูมแขก
-
หญ้าไข่เหา
-
กระชาย
-
สะเดาอินเดีย
-
แกแล
-
เข็มแดง
-
ตะบูนดำ
-
ทุเรียน
-
พุดทุ่ง
-
มะเขือดง
-
ยอเถื่อน
-
ลองกอง
-
ลำบิดดง
-
ครอบจักรวาล
-
ขี้อ้าย
-
ชิงช้าชาลี
-
โคลงเคลง
-
ผักแพวแดง
-
พญาไร้ใบ
-
โพทะเล
-
มะงั่ว
-
ส้มควาย
-
หางนกยูงไทย
-
มะกอกฝรั่ง
-
กอมขน
-
พลับ
-
พันงูน้อย
-
ขอบชะนาง
-
สนทราย
-
หญ้าชันกาด
-
โหราข้าวโพด
-
สมอเทศ
-
มะกล่ำเผือก
-
กัญชาเทศ
-
พลับพลึงดอกขาว
-
มหาหิงค์
-
โบตั๋น
-
หน่อกะลา
-
มันสำปะหลัง
-
ดาวกระจาย
-
ผักแครด
-
ปีบฝรั่ง
-
คนทีสอทะเล
-
ครามใหญ่
-
เบญจมาศน้ำเค็ม
-
แคฝรั่ง
-
พลับพลึงดอกแดง
-
ลางสาด
-
หางนกยูงฝรั่ง
-
สะเดาดิน
-
ดอกไม้จีน
-
ลำพู
-
หญ้าปากควาย
-
พันงูแดง
-
ถั่วแปบ
-
จิกน้ำ
-
มะเมื่อย
-
หญ้าพันงูขาว
-
แว่นแก้ว
-
สิงหโมรา
-
บานไม่รู้โรยป่า
-
แคแสด
-
แตงไทย
-
ค่าหด
-
มะฝ่อ
-
แมงกะแซง
-
สะแอะ
-
กลึงกล่อม
-
จันทน์ขาว
-
จันทน์ชะมด
-
เบญกานี
-
ผักเสี้ยน
-
เผือก
-
น้อยโหน่ง
-
ตะเคียนทอง
-
ชันย้อย
-
ตะคร้ำ
-
ผักเป็ดน้ำ
-
พุดจีบ
-
เม่าไข่ปลา
-
หนุมานนั่งแท่น
-
เห็ดกระถินพิมาน
-
อ้อยช้าง
-
ส้มผด
-
หญ้าเกล็ดหอยเทศ
-
โปร่งฟ้า
-
กล้วยตีบ
-
โคลงเคลงขน
-
ถอบแถบเครือ
-
ผักเป็ด
-
พวงไข่มุก
-
มะลิวัลย์
-
ลิ้นมังกร
-
สบู่แดง
-
-
-
สมัครรับข่าวสาร
บุกกับการกระจายพันธุ์
บุกกับการกระจายพันธุ์
การกระจายพันธุ์ในพืชนั้น นับว่าเป็นของคู่กันอย่างแยกออกจากกันไม่ได้ไม่ว่าจะเป็นพืชประเภทไหน เช่น พืชสมุนไพร,พืชที่ใช้ทำอาหาร,หรือพืชที่ใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ เพราะเมื่อมีพืชเกิดขึ้นในท้องถิ่นนั้นๆแล้ว จะเกิดการขยายพันธุ์เองตามธรรมชาติและเมื่อมีการขยายพันธุ์แล้วก็ทำให้พืชชนิดนั้นมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นแล้วจึงเกิดเป็นการกระจายพันธุ์ไปยังพื้นที่ใกล้เคียง โดยในการกลายพันธุ์นี้อาจเป็นการกระจายพันธุ์แบบต่อไปเรื่อยๆในหลายพื้นที่ หรืออาจเป็นการกระจายพันธุ์แบบจำกัดอยู่ในเฉพาะถิ่นใดถิ่นหนึ่งก็ได้และหากเราพูดถึงการกระจายพันธุ์ของสมุนไพรแล้วนั้น หลายท่านคงได้ยินได้ฟังเรื่องราวของสมุนไพรหลายๆชนิดที่มีการแพร่กระจายพันธุ์เข้ามายังประเทศไทยของเรา อาทิเช่น พริกไทย ดอกคำฝอย เป็นต้น แต่หากจะพูดถึงการกระจายพันธุ์ของสมุนไพรที่มีในไทยอีกชนิดหนึ่งที่มีการกระจายพันธุ์ไปในหลายๆประเทศ เป็นบริเวณกว้างก็คือ “บุก” นั่นเอง โดยบุกเป็นพืชที่พบได้ในเขตร้อนทั่วไปรวมไปถึงเขตอบอุ่นแอฟริกา และเอเชีย(ส่วนในเขตร้อนแถบอเมริกาไม่มีรายงานว่าพบบุก) เริ่มตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกเรื่อยมาจนถึง โพลินีเซียรวมถึงทวีปเอเชีย สำหรับในแอฟริกาสามารถพบเห็นบุกได้ในเขตทุ่งราบและหมู่เกาะทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนในเอเชียพบได้หลายประเทศ เช่น พม่า จีน ลาว ฟิลิปปินส์ อินเดีย และ ไทย ซึ่งสภาพแวดล้อมในการเจริญเติบโตของบุก นั้นแตกต่างกันออกไปตามสายพันธุ์ และในสภาพนั้นที่ที่พบบุกในเอเชียนี้ แตกต่างกันเช่นกัน เช่น ทุ่งโล่ง ป่าผลัดใบ ป่าโปร่ง ป่าเสื่อมโทรมและที่พบกันมากคือ ป่าไผ่ แต่ก็มีบุกหลายชนิดที่มักชอบขึ้นในสภาพป่าที่เป็นภูเขาหินปูน ที่มีพื้นที่ราบจนถึงภูเขาที่มีความสูง 3000 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลเลยทีเดียว โดยบุกส่วนใหญ่จะมีการแพร่กระจายพันธุ์ในเฉพาะท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งเท่านั้น จะมีบุกไม่กี่ชนิดที่สามารถเจริญเติบโตและแพร่กระจายพันธุ์ไปได้เป็นบริเวณกว้างในหลายๆสภาพภูมิประเทศ เช่น บุก A.Paeoniifolrius (Dennst.) Nico/son ซึ่งมีการแพร่กระจายพันธุ์ ตั้งแต่ มาดากัสการ์ ถึงโพลินีเซีย และในเอเชียหลายๆ ประเทศรวมถึงไทยด้วย และบุก A.muelleri Blume ที่พบในภาคเหนือของไทยก็มีการแพร่กระจายพันธุ์ไปถึงเกาะสุมาตราและเกาะชวา ส่วนในประเทศไทยเรานั้น มีการค้นพบมีบุกมากถึง 46 ชนิด ที่เจริญเติบโตและแพร่กระจายอยู่ในทุกๆภาคของประเทศในบริเวณป่าโปร่งและป่าไผ่ โดย ภาคเหนือตอนบน พบได้ที่ แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง พะเยา แพร่ น่าน ภาคเหนือตอนล่าง พบได้ที่ พิจิตร อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร พิษณุโลก สุโขทัย ภาคกลาง พบได้ที่ กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี ภาคอีสาน พบได้ที่ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ภาคใต้ พบได้ที่ ประจวบคีรีขันธ์ ระนอง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภูเก็ต พังงา สุราษฎร์ธานี กระบี่ ภาคตะวันออก พบได้ทุกจังหวัด ภาคตะวันตก พบได้ที่ กาญจนบุรี เพชรบุรี จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า บุก สามารถพบได้หลายที่ในโลกนี้และมีการแพร่กระจายพันธุ์ แบบกระจายพันธุ์แบบจำกัดในถิ่นนั้นๆ และแบบกระจายพันธุ์เป็นบริเวณกว้างในหลายสภาพภูมิประเทศ โดยปัจจัยหลักส่วนหนึ่งน่าจะมาจากที่ว่าบุกนั้นมีอยู่หลายสายพันธุ์กว่า 170 ชนิด จึงสามารถพบเห็นได้หลายภูมิภาคของโลกซึ่งอาจจะเป็นสายพันธุ์ที่แตกต่างกันในแต่ละภูมิภาคก็ได้
![]() |
![]() |
![]() |