-
-
หน้าแรก
-
กระชายดำ
-
กวาวเครือขาว
-
กวาวเครือแดง
-
ถั่งเช่า
-
แปะก๊วย
-
สมอพิเภก
-
เห็ดหลินจือ
-
ว่านชักมดลูก
-
บุก
-
สมอไทย
-
ส้มแขก
-
มะรุม
-
มะขามป้อม
-
เจียวกู่หลาน
-
กระบองเพชร
-
ถั่วขาว
-
เมล็ดองุ่น
-
พริกไทย
-
ชาเขียว
-
โสมคน
-
ตังกุย
-
เทียนเกล็ดหอย
-
เก๋ากี้(โกจิเบอร์รี่)
-
ดอกคำฝอย
-
กระเทียม
-
ทับทิม
-
ขมิ้นชัน
-
มะขามแขก
-
โกฐน้ำเต้า
-
ดีปลี
-
โกฐหัวบัว
-
เถาวัลย์เปรียง
-
เถาเอ็นอ่อน
-
แห้วหมู
-
ยาดำ
-
ชะพลู
-
สะค้าน
-
เจตมูลเพลิงแดง
-
เจตมูลเพลิงขาว
-
ขิง
-
ขี้เหล็ก
-
ว่านน้ำ
-
กีบแรด
-
ไพล
-
ราชพฤกษ์
-
กำลังเสือโคร่ง
-
หนาดใหญ่
-
คนทีสอ
-
ดอกดาวเรือง
-
พลูคาว
-
ตรีผลา
-
ข่า
-
รากสามสิบ
-
รางแดง
-
ปลาไหลเผือก
-
หมามุ่ย
-
การบูร (Camphor)
-
เกล็ดสะระแหน่ (Menthol)
-
น้ำมันกานพลู (Clove Oil)
-
น้ำมันระกำ (Methyl Salicylate)
-
พิมเสน (Bomed Camphor)
-
ลูกใต้ใบ
-
หญ้าหนวดแมว
-
หญ้าหวาน
-
ทองพันชั่ง
-
เหงือกปลาหมอ
-
งาดำ
-
ตะไคร้
-
บอระเพ็ด
-
บัวบก
-
ผักปลัง
-
เสลดพังพอน (พญายอ)
-
มะกรูด
-
ส้มป่อย
-
กระเจี๊ยบแดง
-
กล้วยน้ำว้า
-
งาขาว
-
ฝรั่ง
-
เพกา
-
ฟ้าทะลายโจร
-
มะขาม
-
มะนาว
-
ยอ
-
ย่านาง
-
รางจืด
-
หอมแดง
-
กระวาน
-
เสลดพังพอน
-
หม่อน
-
มะแว้งต้น
-
ผักเชียงดา
-
มะระขี้นก
-
จันทน์แดง
-
เก๊กฮวย
-
กัญชา
-
กะเพรา
-
ชุมเห็ดเทศ
-
ดาวอินคา
-
โด่ไม่รู้ล้ม
-
อัญชัน
-
เปล้าน้อย
-
อังกาบหนู
-
เสาวรส
-
เพชรสังฆาต
-
โกฐเขมา
-
มะระจีน
-
พลู
-
ชะเอมเทศ
-
มะม่วงหาว มะนาวโห่
-
เตย
-
ลูกซัด
-
หนอนตายหยาก
-
ทุเรียนเทศ
-
สับปะรด
-
แก่นตะวัน
-
ผักคราดหัวแหวน
-
ฟักทอง
-
พรมมิ
-
ชุมเห็ดไทย
-
หญ้าดอกขาว
-
สะเดา
-
มะเขือพวง
-
แมงลัก
-
มะเดื่อชุมพร (มะเดื่อไทย)
-
ขมิ้นอ้อย
-
สีเสียด
-
เปราะหอม
-
โป๊ยกั๊ก
-
มะคำดีควาย
-
มะหาด
-
ส้มโอ
-
ผักบุ้งทะเล
-
สารภี
-
โกฐสอ
-
หมาก
-
มะเกลือ
-
กระทือ
-
ขลู่
-
ผักชี
-
เล็บมือนาง
-
หอมหัวใหญ่
-
มะเขือเทศ
-
โทงเทง
-
สะแก
-
เทียนดำ
-
มะเดื่อฝรั่ง
-
โหระพา
-
อินทนิลน้ำ
-
หูเสือ
-
หนุมานประสานกาย
-
กฤษณา
-
เทียนขาว
-
กระดอม
-
ตะลิงปลิง
-
ตำลึง
-
พุดตาน
-
เทียนแดง
-
ละหุ่ง
-
สายน้ำผึ้ง
-
ยี่หร่า
-
สะระแหน่
-
มะเกี๋ยง
-
โกฐจุฬาล้มพา
-
ว่านมหากาฬ
-
เร่ว
-
เทียนบ้าน
-
แคบ้าน
-
เทียนตาตั๊กแตน
-
มะเฟือง
-
ขึ้นฉ่าย
-
ไมยราบ
-
มะยม
-
สันโศก
-
น้ำนมราชสีห์
-
โกฐก้านพร้าว
-
ครอบฟันสี
-
ม้ากระทืบโรง
-
บัวหลวง
-
โกฐชฎามังสี
-
กำแพงเจ็ดชั้น
-
พิกุล
-
เทียนเยาวพาณี
-
จันทน์เทศ
-
หญ้าขัด
-
โกฐพุงปลา
-
เสนียด
-
บุนนาค
-
กระเม็งตัวเมีย
-
มะลิ
-
ฝาง
-
น้ำนมราชสีห์เล็ก
-
ผักกาดหัว
-
มะตูม
-
ว่านหางจระเข้
-
สบู่ดำ
-
กำลังวัวเถลิง
-
สันพร้าหอม
-
ทองหลางลาย
-
หนามกระสุน
-
หญ้าคา
-
ลำดวน
-
บวบเหลี่ยม
-
เทียนหยด
-
กรุงเขมา
-
แฝกหอม
-
น้ำเต้า
-
ตะไคร้หอม
-
กระบือเจ็ดตัว
-
เอื้อหมายนา
-
โกฐกระดูก
-
หมากผู้หมากเมีย
-
ลูกเดือย
-
ผักเสี้ยนผี
-
โคคลาน
-
เห็ดฟาง
-
ตานหม่อน
-
คนทา
-
ผักแพว
-
ส้มเกลี้ยง
-
มะพร้าว
-
ผักกระโฉม
-
ชะลูด
-
ข่อย
-
โสน
-
กลอย
-
ปีบ
-
พุดซ้อน
-
แพงพวยฝรั่ง
-
ส้มโอมือ
-
ระย่อมน้อย
-
มะขามเทศ
-
มะเขือเปราะ
-
เห็ดหูหนู
-
ขจร
-
ตะขบฝรั่ง
-
ติ้วขาว
-
ทานตะวัน
-
ซ่อนกลิ่น
-
ดาหลา
-
ลีลาวดี
-
ประดู่บ้าน
-
ขันทองพยาบาท
-
บัวเผื่อน
-
สายหยุด
-
สะตอ
-
ขนุน
-
ฟักเขียว
-
แพงพวยน้ำ
-
คัดเค้า
-
กุยช่าย
-
กุ่มน้ำ
-
นางแย้มป่า
-
ผักเขียด
-
พลองเหมือด
-
ราชดัด
-
ว่านพร้าว
-
สำรอง
-
สีเสียดเทศ
-
จำปา
-
พญาวานร
-
ผักแขยง
-
ฝอยทอง
-
ผักโขม
-
โหราเดือยไก่
-
โสมไทย
-
แมงลักคา
-
ผักแว่น
-
พริกหยวก
-
เลี่ยน
-
ผักเบี้ยใหญ่
-
ไฟเดือนห้า
-
ตะโกนา
-
ว่านนางคำ
-
เท้ายายม่อม
-
ทานาคา
-
แห้ม
-
ข้าวเย็นเหนือ
-
กระดูกไก่ดำ
-
จันทนา
-
คาโมมายล์
-
ไม้เท้ายายม่อม
-
ลำโพง
-
กระเบา
-
หัวร้อยรู
-
กุหลาบมอญ
-
ข้าวเย็นใต้
-
หางไหลแดง
-
สนขี้มด
-
บานไม่รู้โรย
-
มะปราง
-
รามใหญ่
-
หญ้าฝรั่น
-
กำแพงเก้าชั้น
-
เครือปลาสงแดง
-
งิ้วป่าดอกขาว
-
เฉียงพร้านางแอ
-
ถั่วเหลือง
-
ทองกวาว
-
ปอเตาไห้
-
มะม่วง
-
กันเกรา
-
กุ่มบก
-
คันทรง
-
คำเงาะ
-
ชะมวง
-
ต้นนมวัว
-
ตาล
-
ถั่วแระต้น
-
พิษนาศน์
-
มะม่วงหิมพานต์
-
แอลคาร์นิทีน
-
ไคโตซาน
-
ลูทีน
-
สารสกัดจากเปลือกสน
-
วิตามินเอ
-
วิตามินบี 1
-
วิตามินบี 2
-
วิตามินบี 3
-
วิตามินบี 5
-
วิตามินบี 6
-
วิตามินบี 7
-
วิตามินบี 9
-
วิตามินบี 12
-
วิตามินซี
-
คอลลาเจน
-
แอล-ธีอะนีน
-
วิตามินเค
-
วิตามินอี
-
วิตามินดี
-
กลูตาไธโอน
-
แอล-อาร์จินีน
-
แอล-ลิวซีน
-
ทอรีน
-
แอล-กลูตามีน
-
อินูลิน
-
คลอโรฟีลล์
-
คอนดรอยตินซัลเฟต
-
ซัลโฟราเฟน
-
น้ำมันตับปลา
-
น้ำมันปลา
-
เบต้ากลูแคน
-
เวย์โปรตีน
-
สาร OPC
-
ไอโอดีน
-
แมกนีเซียม
-
แมงกานีส
-
สังกะสี
-
ซีลีเนียม
-
ไอโซฟลาโวน
-
แคลเซียม
-
โครเมียม
-
ทองแดง
-
ธาตุเหล็ก
-
ฟอสฟอรัส
-
อะดิโพเนคทิน
-
โคลีน
-
เบต้าแคโรทีน
-
โพแทสเซียม
-
เลซิติน
-
โมลิบดีนัม
-
ไลโคปีน
-
โคเอนไซม์ คิวเท็น
-
ใยอาหาร
-
แอสตาแซนธิน
-
-
-
สมัครรับข่าวสาร
ถั่งเช่า ทองคำแห่งสมุนไพรจีน สมญานี้ชัวร์หรือมั่วนิ่ม ?
ถั่งเช่า ทองคำแห่งสมุนไพรจีน สมญานี้ชัวร์หรือมั่วนิ่ม ?
ถั่งเช่า สมุนไพรจีนที่สนนราคาอยู่กันที่ 6 – 7 หลัก ต่อ กิโลกรัมนั้น นับเป็นสมุนไพรที่มีราคาแพงระดับต้นๆ ของวงการสมุนไพรของโลกเลยทีเดียว ถึงขนาดว่า ถั่งเช่า ได้รับสมญานามว่า “ทองคำแห่งสมุนไพรจีน” แต่ในราคาที่แพงหูฉี่ เชื่อว่า ยังมีอีกหลายท่านที่ยังคงสงสัยว่า เม็ดเงินที่จ่ายไปสำหรับซื้อ ถั่งเช่า นั้นจะคุ้มค่าราคาคุย ในตัวสมุนไพรชนิดนี้หรือไม่ ในตอนนี้จะนำข้อมูลต่างๆ มารวบรวมให้ทุกท่านได้คลายข้อสงสัยในตัวของถั่งเช่า “ทองคำแห่งสมุนไพรจีน”
สมุนไพร ถั่งเช่า นี้ เป็นสมุนไพรจีนที่ได้รับความนิยมในการศึกษาวิจัยจากนักวิจัยจากทั่วโลก เช่นเดียวกับเห็ดหลินจือ และมีผลงานวิจัยออกมาหลานชิ้น โดยในตัวสมุนไพร ถั่งเช่า นี้ มีองค์ประกอบทางเคมีต่างๆ เช่น สารแมนทินอล , สารกลุ่มนิวคลิโอไซด์ , โปรตีน , สารกลุ่มพอลิแซ็กคาไรค์ และกลุ่มไขมัน ซึ่งสารกลุ่มต่าง ๆ เหล่านี้ ล้วนมีประโยชน์และจำเป็นกับร่างกายของมนุษย์เราทั้งนั้น ส่วนเรืองสรรพคุณของ ถั่งเช่า นั้น มีมากมายหลายประการ แต่ที่เด่นชัดและเป็นที่ยอมรับและนิยมกันมาก คือ สรรพคุณด้านการเสริมสมรรถภาพทางเพศ เช่นเดียวกับสมุนไพรกวาวเครือแดงของไทย โดยมีรายงานการศึกษาในชาย 22 คน พบว่า ถั่งเช่า สามารถเพิ่มสเปิร์มของอสุจิได้ และสามารถเพิ่มความต้องการทางเพศได้ กว่า 80% เลยทีเดียว รวมทั้งเพิ่มโอกาสที่สเปิร์มจะทำการปฏิสนธิกับไข่ได้อีกถึง 3 เท่า เลยทีเดียว จนถึงเช่าได้รับสมญานามอีกชื่อหนึ่งว่า “ไวอะกร้าแห่งเทือกเขาหิมาลัย” ส่วนสรรพคุณของถั่งเช่าในด้านอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นลดระดับน้ำตาลในเลือด , บำรุงโลหิต เสริมสร้างการทำงานของตับ , ลดไขมันในเลือด , ต้านมะเร็ง , ชะลอความแก่ , ฟื้นฟูการทำงานของไต ฯลฯ
นี่เป็นเพียงข้อมูลเล็กๆ น้อยๆ ที่นำมาเสนอให้ทุกท่านได้ลองอ่าน ซึ่งในระดับที่ลึกๆลงไปมากกว่านี้ เชื่อว่ายังมีข้อมูลด้านต่างๆ ของสมุนไพรชนิดนี้ที่เป็นประโยชน์กับมนุษย์เราอีกมาก แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น เหรียญย่อมมีสองด้านเสมอ เพราะในขณะที่ ถั่งเช่า ส่งผลที่ดีในสรรพคุณต่างๆ แก่คนหมู่มาก ส่วนอีกด้านหนึ่งอาจส่งผลข้างเคียงกับคนบางกลุ่มได้
ดังนั้น ก่อนจะใช้สมุนไพร ไม่ว่าจะเป็น ถั่งเช่า หรือ สมุนไพรชนิดไหน ควรศึกษาข้อมูลของสมุนไพรและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญก่อนเสมอ ดังสำนวนจีนที่ว่า “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง”
![]() |
![]() |
![]() |