-
-
หน้าแรก
-
กระชายดำ
-
กวาวเครือขาว
-
กวาวเครือแดง
-
ถั่งเช่า
-
แปะก๊วย
-
สมอพิเภก
-
เห็ดหลินจือ
-
ว่านชักมดลูก
-
บุก
-
สมอไทย
-
ส้มแขก
-
มะรุม
-
มะขามป้อม
-
เจียวกู่หลาน
-
กระบองเพชร
-
ถั่วขาว
-
เมล็ดองุ่น
-
พริกไทย
-
ชาเขียว
-
โสมคน
-
ตังกุย
-
เทียนเกล็ดหอย
-
เก๋ากี้(โกจิเบอร์รี่)
-
ดอกคำฝอย
-
กระเทียม
-
ทับทิม
-
ขมิ้นชัน
-
มะขามแขก
-
โกฐน้ำเต้า
-
ดีปลี
-
โกฐหัวบัว
-
เถาวัลย์เปรียง
-
เถาเอ็นอ่อน
-
แห้วหมู
-
ยาดำ
-
ชะพลู
-
สะค้าน
-
เจตมูลเพลิงแดง
-
เจตมูลเพลิงขาว
-
ขิง
-
ขี้เหล็ก
-
ว่านน้ำ
-
กีบแรด
-
ไพล
-
ราชพฤกษ์
-
กำลังเสือโคร่ง
-
หนาดใหญ่
-
คนทีสอ
-
ดอกดาวเรือง
-
พลูคาว
-
ตรีผลา
-
ข่า
-
รากสามสิบ
-
รางแดง
-
ปลาไหลเผือก
-
หมามุ่ย
-
การบูร (Camphor)
-
เกล็ดสะระแหน่ (Menthol)
-
น้ำมันกานพลู (Clove Oil)
-
น้ำมันระกำ (Methyl Salicylate)
-
พิมเสน (Bomed Camphor)
-
ลูกใต้ใบ
-
หญ้าหนวดแมว
-
หญ้าหวาน
-
ทองพันชั่ง
-
เหงือกปลาหมอ
-
งาดำ
-
ตะไคร้
-
บอระเพ็ด
-
บัวบก
-
ผักปลัง
-
เสลดพังพอน (พญายอ)
-
มะกรูด
-
ส้มป่อย
-
กระเจี๊ยบแดง
-
กล้วยน้ำว้า
-
งาขาว
-
ฝรั่ง
-
เพกา
-
ฟ้าทะลายโจร
-
มะขาม
-
มะนาว
-
ยอ
-
ย่านาง
-
รางจืด
-
หอมแดง
-
กระวาน
-
เสลดพังพอน
-
หม่อน
-
มะแว้งต้น
-
ผักเชียงดา
-
มะระขี้นก
-
จันทน์แดง
-
เก๊กฮวย
-
กัญชา
-
กะเพรา
-
ชุมเห็ดเทศ
-
ดาวอินคา
-
โด่ไม่รู้ล้ม
-
อัญชัน
-
เปล้าน้อย
-
อังกาบหนู
-
เสาวรส
-
เพชรสังฆาต
-
โกฐเขมา
-
มะระจีน
-
พลู
-
ชะเอมเทศ
-
มะม่วงหาว มะนาวโห่
-
เตย
-
ลูกซัด
-
หนอนตายหยาก
-
ทุเรียนเทศ
-
สับปะรด
-
แก่นตะวัน
-
ผักคราดหัวแหวน
-
ฟักทอง
-
พรมมิ
-
ชุมเห็ดไทย
-
หญ้าดอกขาว
-
สะเดา
-
มะเขือพวง
-
แมงลัก
-
มะเดื่อชุมพร (มะเดื่อไทย)
-
ขมิ้นอ้อย
-
สีเสียด
-
เปราะหอม
-
โป๊ยกั๊ก
-
มะคำดีควาย
-
มะหาด
-
ส้มโอ
-
ผักบุ้งทะเล
-
สารภี
-
โกฐสอ
-
หมาก
-
มะเกลือ
-
กระทือ
-
ขลู่
-
ผักชี
-
เล็บมือนาง
-
หอมหัวใหญ่
-
มะเขือเทศ
-
โทงเทง
-
สะแก
-
เทียนดำ
-
มะเดื่อฝรั่ง
-
โหระพา
-
อินทนิลน้ำ
-
หูเสือ
-
หนุมานประสานกาย
-
กฤษณา
-
เทียนขาว
-
กระดอม
-
ตะลิงปลิง
-
ตำลึง
-
พุดตาน
-
เทียนแดง
-
ละหุ่ง
-
สายน้ำผึ้ง
-
ยี่หร่า
-
สะระแหน่
-
มะเกี๋ยง
-
โกฐจุฬาล้มพา
-
ว่านมหากาฬ
-
เร่ว
-
เทียนบ้าน
-
แคบ้าน
-
เทียนตาตั๊กแตน
-
มะเฟือง
-
ขึ้นฉ่าย
-
ไมยราบ
-
มะยม
-
สันโศก
-
น้ำนมราชสีห์
-
โกฐก้านพร้าว
-
ครอบฟันสี
-
ม้ากระทืบโรง
-
บัวหลวง
-
โกฐชฎามังสี
-
กำแพงเจ็ดชั้น
-
พิกุล
-
เทียนเยาวพาณี
-
จันทน์เทศ
-
หญ้าขัด
-
โกฐพุงปลา
-
เสนียด
-
บุนนาค
-
กระเม็งตัวเมีย
-
มะลิ
-
ฝาง
-
น้ำนมราชสีห์เล็ก
-
ผักกาดหัว
-
มะตูม
-
ว่านหางจระเข้
-
สบู่ดำ
-
กำลังวัวเถลิง
-
สันพร้าหอม
-
ทองหลางลาย
-
หนามกระสุน
-
หญ้าคา
-
ลำดวน
-
บวบเหลี่ยม
-
เทียนหยด
-
กรุงเขมา
-
แฝกหอม
-
น้ำเต้า
-
ตะไคร้หอม
-
กระบือเจ็ดตัว
-
เอื้อหมายนา
-
โกฐกระดูก
-
หมากผู้หมากเมีย
-
ลูกเดือย
-
ผักเสี้ยนผี
-
โคคลาน
-
เห็ดฟาง
-
ตานหม่อน
-
คนทา
-
ผักแพว
-
ส้มเกลี้ยง
-
มะพร้าว
-
ผักกระโฉม
-
ชะลูด
-
ข่อย
-
โสน
-
กลอย
-
ปีบ
-
พุดซ้อน
-
แพงพวยฝรั่ง
-
ส้มโอมือ
-
ระย่อมน้อย
-
มะขามเทศ
-
มะเขือเปราะ
-
เห็ดหูหนู
-
ขจร
-
ตะขบฝรั่ง
-
ติ้วขาว
-
ทานตะวัน
-
ซ่อนกลิ่น
-
ดาหลา
-
ลีลาวดี
-
ประดู่บ้าน
-
ขันทองพยาบาท
-
บัวเผื่อน
-
สายหยุด
-
สะตอ
-
ขนุน
-
ฟักเขียว
-
แพงพวยน้ำ
-
คัดเค้า
-
กุยช่าย
-
กุ่มน้ำ
-
นางแย้มป่า
-
ผักเขียด
-
พลองเหมือด
-
ราชดัด
-
ว่านพร้าว
-
สำรอง
-
สีเสียดเทศ
-
จำปา
-
พญาวานร
-
ผักแขยง
-
ฝอยทอง
-
ผักโขม
-
โหราเดือยไก่
-
โสมไทย
-
แมงลักคา
-
ผักแว่น
-
พริกหยวก
-
เลี่ยน
-
ผักเบี้ยใหญ่
-
ไฟเดือนห้า
-
ตะโกนา
-
ว่านนางคำ
-
เท้ายายม่อม
-
ทานาคา
-
แห้ม
-
ข้าวเย็นเหนือ
-
กระดูกไก่ดำ
-
จันทนา
-
คาโมมายล์
-
ไม้เท้ายายม่อม
-
ลำโพง
-
กระเบา
-
หัวร้อยรู
-
กุหลาบมอญ
-
ข้าวเย็นใต้
-
หางไหลแดง
-
สนขี้มด
-
บานไม่รู้โรย
-
มะปราง
-
รามใหญ่
-
หญ้าฝรั่น
-
กำแพงเก้าชั้น
-
เครือปลาสงแดง
-
งิ้วป่าดอกขาว
-
เฉียงพร้านางแอ
-
ถั่วเหลือง
-
ทองกวาว
-
ปอเตาไห้
-
มะม่วง
-
กันเกรา
-
กุ่มบก
-
คันทรง
-
คำเงาะ
-
ชะมวง
-
ต้นนมวัว
-
ตาล
-
ถั่วแระต้น
-
พิษนาศน์
-
มะม่วงหิมพานต์
-
แอลคาร์นิทีน
-
ไคโตซาน
-
ลูทีน
-
สารสกัดจากเปลือกสน
-
วิตามินเอ
-
วิตามินบี 1
-
วิตามินบี 2
-
วิตามินบี 3
-
วิตามินบี 5
-
วิตามินบี 6
-
วิตามินบี 7
-
วิตามินบี 9
-
วิตามินบี 12
-
วิตามินซี
-
คอลลาเจน
-
แอล-ธีอะนีน
-
วิตามินเค
-
วิตามินอี
-
วิตามินดี
-
กลูตาไธโอน
-
แอล-อาร์จินีน
-
แอล-ลิวซีน
-
ทอรีน
-
แอล-กลูตามีน
-
อินูลิน
-
คลอโรฟีลล์
-
คอนดรอยตินซัลเฟต
-
ซัลโฟราเฟน
-
น้ำมันตับปลา
-
น้ำมันปลา
-
เบต้ากลูแคน
-
เวย์โปรตีน
-
สาร OPC
-
ไอโอดีน
-
แมกนีเซียม
-
แมงกานีส
-
สังกะสี
-
ซีลีเนียม
-
ไอโซฟลาโวน
-
แคลเซียม
-
โครเมียม
-
ทองแดง
-
ธาตุเหล็ก
-
ฟอสฟอรัส
-
อะดิโพเนคทิน
-
โคลีน
-
เบต้าแคโรทีน
-
โพแทสเซียม
-
เลซิติน
-
โมลิบดีนัม
-
ไลโคปีน
-
โคเอนไซม์ คิวเท็น
-
ใยอาหาร
-
แอสตาแซนธิน
-
ไฟโคไซยานิน
-
ซูคราโลส
-
เคอร์คูมิน
-
คลอไรด์
-
โซเดียม
-
คาเทชิน
-
อัลบูมิน
-
ไฮยาลูโรนิค
-
ฟูโคแซนทิน
-
ฟลูออไรด์
-
แอสปาร์แตม
-
กาบา
-
ครีเอทีน
-
คอร์ไดเซปิน
-
คาร์โนซีน
-
จินเซนโนไซด์
-
เซซามิน
-
ไพเพอร์รีน
-
อะซีซัลเฟม โพแทสเซียม
-
อัลลิซิน
-
-
-
สมัครรับข่าวสาร
พริกไทยทั้งอร่อยและรักษาโรค
พริกไทยทั้งอร่อยและรักษาโรค
พริกไทยสามารถนำมาเป็นเครื่องปรุงให้กับอาหารต่างๆ ทั้งอาหารไทยและอาหารต่างประเทศ หลายหลายเมนู ทั้งอาหาร ไทย , จีน , ฝรั่ง ซึ่งประโยชน์ในข้อนี้ เราทั้งหลายก็ทราบกันมาแล้ว แต่พริกไทยยังมีข้อดีอีกอย่างหนึ่งที่มีประโยชน์กันมนุษย์เราไม่แพ้การนำมาเป็นเครื่องปรุงอาหารเลยทีเดียว ซึ่งนั่นก็คือมีการนำพริกไทยมาทำสมุนไพรเพื่อรักษาและบำบัดอาการของโรคต่างๆ ด้วยที่ว่า พริกไทยนั้นเป็นพืชประจำถิ่นแถบอินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เหตุนี้ชาวพื้นถิ่นในแถบนี้จึงรู้จักนำพริกไทยมาใช้ประโยชน์ด้านสมุนไพรตั้งแต่โบราณกาล โดยในจีนนั้น กล่าวถึงพริกไทย ว่ามีคุณสมบัติ อุ่น สามารถวิ่งเส้นลมปราณในร่างกายได้ ทำให้เลือดไหลเวียนสะดวก ทั้งยังทำให้พลังลงสู่ส่วนล่าง ขับพลังเย็นอวัยวะจั้งฝู่ ทำให้ย่อยอาหารดี บำรุงพลังของไต ฆ่าพิษอาหารจำพวกอาหารทะเล โดยแพทย์แผนจีน ระบุว่า พริกไทย จัดเป็นพืชที่เป็นหยางเหมาะกับคนที่กระเพาะอาหารเย็นชื้น ผู้ที่จะใช้พริกไทย จึงควรเป็นผู้ที่มีภาวะหยางในร่างกายน้อย ส่วนในไทย ตำราแผนโบราณของไทยนั้น ระบุว่าสรรพคุณที่โดดเด่นของพริกไทย คือ เป็นยาอายุวัฒนะ เช่น ในตำรายาวิเศษ “ว่าใช้เหงือกปลาหมอ 2 ส่วน พริกไทย 1 ส่วน ตำเป็นผงละลายน้ำกิน 1 เดือน หายจากโรคทั้งปวง” ส่วนสรรพคุณอื่นๆ ของพริกไทย อาทิเช่น รากพริกไทยใช้ขับลมในลำไส้ แก้ปวดท้อง แก้ลมวิงเวียน เถาพริกไทย ช่วยย่อยอาหาร แก้อาการลงแดง เมล็ดพริกไทย ขับเสมหะ บำรุงธาตุ ทำให้ผายลมหรือขับปัสสาวะ และพริกไทยยังได้รับการยอมรับในการแพทย์สมัยใหม่ว่า ถ้าเป็นสมุนไพรที่เมื่อนำไปรวมกับสมุนไพรตัวอื่นๆแล้วจะมีฤทธิ์เป็นยา เช่น พิกัดตรีกฎก ซึ่งประกอบด้วย เหง้าขิงแห้ง เมล็ดพริกไทย ผลดีปลี ข่วยขับน้ำดีและขับลม อีกพิกัดหนึ่งคือ ตรีวาตผล ประกอบด้วย ลูกสะค้าน เหง้าข่า รากพริกไทย ช่วยแก้ในกองลม แน่นหน้าอก ขับเสมหะ บำรุงไฟธาตุ สำหรับในอินเดีย นั้น ชาวอินเดีย นิยมใช้พริกไทยเป็นองค์ประกอบในการใช้ แก้หวัด ปวดท้อง อาเจียน ปวดประจำเดือน และที่สำคัญล่าสุดในปัจจุบันนี้ มีการนำพริกไทยไปแปรรูปเป็นพริกไทยดำ แล้วมีการศึกษาวิจับ พบสารตัวหนึ่งในพริกไทยดำ ว่ามีสรรพคุณ ลดน้ำหนักได้ คุณผู้หญิงในปัจจุบันจึงนิยมใช้สารสกัดจากพริกไทยดำเพื่อลดน้ำหนักกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งในหัวข้อพริกไทยดำกับสรรพคุณการลดน้ำหนักนี้ ขออุบไว้ก่อนโดย จะขอกล่าวถึงในครั้งต่อไป
แต่อย่างไรก็ตามพริกไทยก็ถือได้ว่าเป็นพืชที่ให้คุณประโยชน์แก่มนุษย์อย่างมาก เพราะสามารถเป็นทั้งเครื่องปรุงรสชั้นเลิศ ที่เป็นที่นิยมทั่วโลกในปัจจุบัน และยังสามารถเป็นสมุนไพร ที่มีสรรพคุณรักษาและบำบัดโรคได้อีกด้วย เพราะฉะนั้น จึงขอขนานนามพริกไทยว่า “พริกไทย สมุนไพร 2 IN 1”
![]() |
![]() |
![]() |